หลักฐานประกอบรายงานการประเมินตนเอง (SAR)
ปีการศึกษา 2567




องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม
          1.1-1 : ค่าเฉลี่ยของคะแนนผลการประเมินทุกหลักสูตรที่คณะรับผิดชอบ (เกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ. 2563)
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวมตามเกณฑ์ AUN-QA
          1.2-1 : ค่าเฉลี่ยของคะแนนผลการประเมินทุกหลักสูตรที่คณะรับผิดชอบ (เกณฑ์ AUN-QA)
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 การจัดการศึกษาที่ตอบสนองสังคมและยุทธศาสตร์ชาติ
          1.3-1 : แผนการผลิตบัณฑิตและการพัฒนาผู้เรียนตามความเชี่ยวชาญของคณะ
          1.3-2 : กลไกการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิตของกำลังคนในพื้นที่ คลังหน่วยกิต และหลักสูตรแบบไม่ให้ปริญญา
          1.3-3 : หลักสูตรแบบให้ปริญญาหรือแบบไม่ให้ปริญญาที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ากับยุคสมัย
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.8 การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล
ตัวบ่งชี้ที่ 1.9 ค่าเฉลี่ยผลการประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิตด้านผลลัพธ์ผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ที่ 1.10 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานงานวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 งานสร้างสรรค์ งานวิจัย นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาพื้นที่

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 สัดส่วนผลงานบริการวิชาการที่เพิ่มรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่น

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ และอัตลักษณ์ของคณะ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การบริหารและพัฒนาคณะ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ระบบการพัฒนาบุคลากร
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ระบบการประกันคุณภาพหลักสูตรและคณะ

องค์ประกอบที่ 6 ผลการดำเนินงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 การพัฒนาเชิงพื้นที่
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 การมีส่วนร่วมของบุคคลหรือหน่วยงานในชุมชน พื้นที่ หรือภูมิภาค
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ความสอดคล้องของหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ที่ 6.4 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยและบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาในพื้นที่ ภูมิภาค
ตัวบ่งชี้ที่ 6.5 การมีส่วนร่วมของสังคมและชุมชน
ตัวบ่งชี้ที่ 6.6 การบูรณาการงบประมาณจากภาครัฐและเอกชนในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคมในพื้นที่



งานบริการการศึกษาและพัฒนานักศึกษา สำนักงานคณบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง